วันพฤหัสบดีที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2555

บันทึกการเข้าเรียน ครั้งที่ 14 






 - อาจารย์ แนะนำเทคนิควิธีในการจัดป้ายนิเทศ การจัดทำบอร์ดดอกไม้ ที่นักศึกษานำมาส่งแต่ละกลุ่ม และร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดป้ายนิเทศ
- การวางแผนในการจัดป้ายนิเทศ การจัดไล่ดอก การจัดช่อดอกไม้ ต้องวางใบก่อนวางดอกไม้

- การวางใบ การจัดเข้ามุม
- ดอกไม้ต้องมี ใบเลี้ยง ใบรอง จะได้ดูเป็นธรรมชาติ
- การนำสิ่งที่เราได้เรียนรู้และอบรมนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์
- การจัดต้องมีความทนทาน มีความแข็งแรง
- ในการจัด มีท้ง ดอกไม้  ขนาด ใหญ่ กลาง เล็ก จะทำให้ดูเป็นศิลปะมากขึ้น





* ส่งงานกลุ่ม งานทดลอง สื่อ วิทยาศาสตร์

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 13

วัน อาทิตย์  ที่ 26  เดือน สิงหาคม  พ.ศ. 2555

ความรู้ที่ได้รับ
          เข้าร่วมการอมรมการจัดทำบอร์ด  ในวันนี้มีการทำดอกพุทธรักษา




-ส่งสมุดเล่มเล็ก
-บอร์ด                        
- ส่งการทดลองวิทยาศาสตร์
*งานที่มอบหมาย
-จัดกลุ่ม3คน ได้หัวข้อ ระดับน้ำมีผลต่อระดับเสียง
 1.ตั้งชื่่อกิจกรรม อุปกรณ์
 2.แนวคิด วิธีการดำเนินงาน
 3.ป้ายชื่อให้เด็ก
 


วันเสาร์ที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2555




บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 12

วัน เสาร์  ที่ 25  เดือน สิงหาคม  พ.ศ. 2555

ความรู้ที่ได้รับ

         มีการเข้าอบรมเกี่ยวกับการจัดทำบอร์ด  การทำดอกไม้ติดบอร์ด   การจัดวางองค์ประกอบของดอกไม้ว่าควรมีการไล่ละดับของดอกไม้  ใบไม้ควรมีหลายรูปแบบเพื่อให้เกิดเป็นภาพหลายมิติ



     




บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 11

วัน อังคาร  ที่ 21  เดือน สิงหาคม  พ.ศ. 2555

 ความรู้ที่ได้รับ

           -  มีการสรุปหน่วยการเรียนรู้จากหนังสือที่อาจารย์นำมาเป็น Mind Map

 



งานที่มอบหมาย

           -  อาจารย์ให้จับกลุ่ม 4  คน  ทำการทดลองวิทยาศาสตร์มา 1  เรื่อง

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 10

วัน อังคาร  ที่ 14  เดือน สิงหาคม  พ.ศ. 2555

ความรู้ที่ได้รับ

          ไม่มีการเรียนการสอน
           ( อาจารย์มีการจัดการเรียนชดเชยในวัน อาทิตย์  ที่ 26  เดือน สิงหาคม  พ.ศ. 2555 )

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 9

วัน อังคาร  ที่ 7  เดือน สิงหาคม  พ.ศ. 2555

ความรู้ที่ได้รับ

          ไม่มีการเรียนการสอน
           ( อาจารย์ได้นัดชดเชยใน วัน เสาร์ ที่ 25  เดือน สิงหาคม  พ.ศ. 2555 )

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 8

วัน อังคาร  ที่ 31  เดือน กรกฎาคม  พ.ศ. 2555

ความรู้ที่ได้รับ

      ไม่มีการเรียนการสอนเนื่องจากอยู่ในช่วงสอบกลางภาค 

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 7

วัน อังคาร  ที่  24  เดือน กรกฎาคม  พ.ศ.  2555

ความรู้ที่ได้รับ

       1.  การไปทัศนศึกษา   จะต้องรู้ว่าไปที่ไหน    ไปแล้วได้อะไร
                 สถานที่   1. ไบเทค บางนา  งานวิทยาศาสตร์
                                2.  ท้องฟ้าจำลอง
                                3.  หุ่นขี้ผึ้ง
                                4.  พิพิทธภัณฑ์เด็ก
                                5.  พิพิทธภัณฑ์สัตว์น้ำบางแสน
                 ประโชยน์    1.  ประสบการณ์ตรง
                                    2.  เกิดความสนุกสนาน
                                    3.  ได้ความรู้
                                    4.  เกิดการใฝ่รู้________เกิดความสงสัย
                                                                L____ เกิดคำถาม
                                                                L____ เกิดความอยากรู้อยากเห็น

        2.  การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
                1. มีการตั้งคำถาม
                2. จัดกิจกรรมโดยผ่านงานศิลปะ  เช่น   การวาดรูป
                3. เล่าเรื่องจากภาพที่วาดต่อกันเป็นกลุ่มให้เป็นเรื่องราว   ซึ่งการเล่าเรื่องเป็นวรรณกรรม   แล้วสรุปโดยการตั้งชื่อ

       3.  อาจารย์ยกตัวอย่างเรื่อง  " ช้าง "  
                1. .ให้เด็กๆ  ช่วยกันตอบโดยใช้คำถาม  " สิ่งที่เด็กๆ รู้เกี่ยวกับช้างมีอะไรบ้าง "
                                                                              " เด็กๆ อยากรู้อะไรที่เกี่ยวกับช้างบ้าง "
                2.  ร้องเพลงเกี่ยวกับช้าง
      **  เมื่อเจอคำถามที่ตอบไม่ได้    สิ่งที่ครูควรทำคือ
                     -  ถามผู้รู้   ( สัตวแพทย์  /  ควานช้าง )
                     -  จากอินเตอร์เน็ต
                     -  อ่านหนังสือ
                     -  ดูจาก VDO / รูปภาพ / สื่อการสอน
                     -  สวนสัตว์
                     -  บ้านช้าง

การสะท้อนกลับ ( เด็กต้องเป็นผู้ลงมือปฏิบัติ )
                     -  แสดงบทบาทสมมุติ
                     -  เกม
                     -  นิทรรศการ
                     -  แต่งเพลง / แต่งนิทาน / แต่งกลอน

งานที่ได้รับมอบหมาย
           -  เขียนแผนการสอนตามหน่วยการเรียนรู้ที่ได้รับผิดชอบ
           -  แบ่งกลุ่มๆ ละ  11 คน  ทำฐานวิทยาศาสตร์

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 6

วัน อังคาร  ที่ 17  เดือน กรกฎาคม  พ.ศ. 2555

ความรู้ที่ได้รับ

        -  มีการส่งงานที่ค้างสำหรับคนที่ยังไม่ส่ง
        -  ได้พูดถึงการเล่น  ว่าการเล่นเป็นเครื่องมือทำให้เด็กเกิดการเรียนรู้
        -  การที่ทำของเล่นขึ้นมา  แต่ละชิ้นเพื่อต้องการให้เด็กเรียนรู้เรื่องวิทยาศาสตร์
        -  การฝึกให้เด็กทำสิ่ง ต่างๆ  เป็นการทำให้เด้กเรียนรู้การทำงานเป็นขั้นตอน  ได้ปฏิบัติจริง
        -  เราจะต้องรู้ว่าสิ่งที่เราจะไปทำกับเด็กให้เด็กเล่นนั้น  มันได้สะท้อนอะไรในความเป็นวิทยาศาสตร์
        -  มีการทบทวนเกี่ยวกับกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานว่ามีอะไรบ้าง

กิจกรรมในห้องเรียน

         ให้ทุกคนในห้องแบ่งกลุ่ม  ตามหน่วยที่ตัวเองได้รับ  และช่วยกันทำ Mind Map  ว่าเราจะสอนเรื่องอะไรในแต่ละช่วงชั้น  อนุบาล 1  อนุบาล 2  และอนุบาล 3

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 5

วัน อังคาร  ที่ 10  เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2555

ความรู้ที่ได้รับ

         - มีการนำเสนองานที่อาจารย์สั่งไว้เมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา  2 ชิ้นงาน
         -  ของเล่นวิทยาศาสตร์  ที่เด้กสามารถเล่นเองได้ตามมุมวิทยาศาสตร์
         -  ของเล่นวิทยาศาสตร์ที่ใช้สอนให้เด็กทำได้

กำลังนำเสนอของเล่นวิทยาศาสตร์


ภาพสองหน้า

อุปกรณ์
กระดาษ A4                       - กรรไกร
สี                                          - ดินสอ
- ยางลบ                                 - เชือก
- ตุ๊ดตู่

วิธีทำ

1.วาดรูปวงกลมลงในกระดาษและตัดกระดาษเป็นรูปวงกลมขนาดตามต้องการ



2.ใช้ตุ๊ดตู่เจาะกระดาษ ดังรูป



3.วาดรูปทั้งสองหน้ากระดาษให้สัมพันธ์กัน





4.ตัดเชือกยาว 10 นิ้ว จำนวน 2 เส้น




5.ผูกเชือกที่รูกระดาษทั้งสองข้าง ดังรูป



กรองน้ำ ทำได้เอง
อุปกรณ์
- ขวดพลาสติก                     ทราย
ถ่านทุบละเอียด                 - มีด
กรรไกร                              - ผ้า
กรวดจิ๋ว                              - สำลี

วิธีทำ

1.นำขวดพลาสติกมาตัดก้นออก


2.ใช้ผ้าหุ้มปลายขวด


3.นำผ้าหรือสำลี มาพับทบหลายๆชั้น เพื่อกรองเศษผงขั้นสุดท้าย

4.ใส่ถ่านทุบละเอียด กรองสารพิษ และแบคทีเรียอีโคไลน์ ,ทราย กรองสิ่งแปลกปลอมขนาดเล็ก


5.ใส่กรวดจิ๋ว กรองสิ่งแปลกปลอมชิ้นใหญ่ ถ้าไม่มีใช้ทรายอย่างเดียวก็ได้

งานที่สั่ง
           ให้นำวิธีทำพร้อมรูปภาพขั้นตอนการทำมาส่ง  เพื่อที่จะได้รวบรวมเป็นเล่ม

วันพฤหัสบดีที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2555


บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 4
วัน อังคาร ที่ 3 เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2555

ความรู้ที่ได้รับ

-   ดูวีดีโอเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์แสนสนุกสำหรับเด็ก

-   ฝนเกิดจากอะไร
           ฝนตกเกิดจาก น้ำโดนความร้อนของแสงจากดวงอาทิตย์หรือความร้อนอื่นใดที่ใช้ในการต้มน้ำ จนทำให้ระเหยกลายเป็นไอน้ำ ลอยขึ้นไปในอากาศ เมื่อไอน้ำมากขึ้นจะรวมตัวกันเป็นละอองน้ำเล็กๆ ปริมาณของละอองน้ำยิ่งมากขึ้นเรื่อยๆก็จะรวมตัวกันเป็นเมฆฝน พอมากเข้าอากาศไม่สามารถพยุงละอองน้ำเหล่านี้ต่อไปได้ น้ำก็จะหล่นลงมายังผืนโลกให้เราเรียกขานกันว่าฝนตก

-   การเปลี่ยนสถานะของน้ำ
         วัฏจักรของน้ำ (water cycle) หรือชื่อในทางวิทยาศาสตร์ว่า วัฏจักรของอุทกวิทยา (hydrologic cycle) หมายถึงการเปลี่ยนแปลงสถานะของน้ำระหว่าง ของเหลว ของแข็ง และ ก๊าซ ในวัฏจักรของน้ำนี้ น้ำจะมีการเปลี่ยนแปลงสถานะไปกลับ จากสถานะหนึ่งไปยังอีกสถานะหนึ่ง อย่างต่อเนื่อง ไม่มีสิ้นสุด ภายในอาณาจักรของน้ำ (hydrosphere) เช่น การเปลี่ยนแปลงระหว่าง ชั้นบรรยากาศ น้ำพื้นผิวดิน ผิวน้ำ น้ำใต้ดิน และ พืช
         
การระเหย
       คือกระบวนการการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร จากของเหลว กลายเป็นก๊าซ โดยมักเกิดเมื่อของเหลวนั้นๆได้รับพลังงานหรือความร้อน ได้แก่ น้ำ เปลี่ยนสถานะเป็น ไอน้ำ
การระเหิด
       คือกระบวนการการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร จากของแข็ง กลายเป็นก๊าซ โดยไม่ผ่านสถานะการเป็นของเหลว ได้แก่ น้ำแข็งแห้ง เปลี่ยนสถานะเป็น ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
การควบแน่น
       คือกระบวนการการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร จากก๊าซ กลายเป็นของเหลว โดยมักเกิดเมื่อก๊าซนั้นๆ สูญเสียความร้อนหรือพลังงาน ได้แก่ ไอน้ำ เปลี่ยนแปลงสถานะเป็น น้ำ
การแข็งตัว
       คือกระบวนการการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร จากของเหลว กลายเป็นของแข็ง โดยมักเกิดเมื่อของเหลวนั้นๆ สูญเสียความร้อนหรือพลังงาน ได้แก่ น้ำ เปลี่ยนแปลงสถานะเป็น น้ำแข็ง โดยของแข็งนั้น สามารถเปลี่ยนสถานะกลับเป็นของเหลวได้ โดยการได้รับพลังงานหรือความร้อน
การตกผลึก
       คือกระบวนการการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร จากของเหลว กลายเป็นของแข็ง โดยมักเกิดเมื่อของเหลวนั้นๆ สูญเสียความร้อนหรือพลังงาน ได้แก่ น้ำ เปลี่ยนแปลงสถานะเป็น น้ำแข็ง แต่โดยทั่วไปแล้ว ตกผลึกนั้นนิยมใช้ กับการเปลี่ยนแปลงรูปร่างทางทางเคมี เสียมากกว่า เพราะโดยทั่วไปใช้กับสารประกอบหรือวัตถุ ที่ไม่สามารถหลอมเหลว หรือ ละลาย กลับเป็นของเหลวได้อีก
การหลอมเหลว หรือการละลาย
       คือกระบวนการการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร จากของแข็ง กลายเป็นของเหลว โดยมักเกิดเมื่อของแข็งนั้นๆ ได้รับความร้อนหรือพลังงาน ได้แก่ น้ำแข็ง เปลี่ยนแปลงสถานะเป็น น้ำ

งานที่สั่ง

          1. เมื่อได้หน่วยการเรียนรู้จากโรงเรียนอนุบาลสาธิตจันทรเกษม  แล้วให้ทำเป็น
Mind Map  ว่าเราจะสอนอะไร   สิ่งที่จะต้องมีคือ  ภาพ  การทดลอง  และยกตัวอย่าง (งานกลุ่ม)
          2. ทำสื่อวิทยาศาสตร์ที่เด้กสามารถเล่นเองได้ในมุมประสบการณ์ (จับคู่ 2 คน)
               - อุปกรณ์จะต้องเป็นเศษวัสดุเหลือใช้
               - ถ่ายรูปเป็นขั้นตอน
          3. หาวิธีการทำของเล่นวิทยาศาสตร์มา 1 อย่าง   เพื่อที่จะนำมาสอนเด็ก (จับคู่ 2 คน)


บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 4

วันอังคารที่ 3 กรกฏาคม พ.ศ. 2555


>> อาจารย์ให้ดู VDO เรื่อง มหัศจรรย์ของน้ำ...

การทดลองที่ 1 

- นำแอปเปิ้ลมาปั้นแล้วเทใส้ถ้วย บีบกากแอปเปิ้ล ก็จะมีน้ำออกมา

      * ร่างกายของคนเรามีน้ำอยู่ในตัวเอง 70 %

      * ผักและผลไม้มีน้ำอยู่ 90 %

ร่างกายของคนเรานั้นสามารถอยู่ได้โดยไม่มีน้ำแค่ 3 วัน ส่วนอูฐสามารถเก็บน้ำได้ถึง 10 วัน

การทดลองที่ 2

- ต้มน้ำเเข็งให้เป็นของเหลวเมื่อเกิดเป็นไอ เอาน้ำเเข็งในจานมาวางด้านบน
ผลที่เกิดขึ้น คือ กลายเป็นหยดน้ำ


น้ำมี 3 ลักษณะ คือ ของแข็ง / ของเหลว / ก๊าซ


การทดลองที่ 3

- หาภาชนะมา 2 เเบบ [ เเบบที่ 1 เเก้ว เเบบที่ 2 จาน ] นำน้ำมาเทลงในภาชนะทั้ง 2 เเล้วนำไปตากเเดด 1 วัน ผลที่เกิดขึ้น คือ น้ำในจานลดลง [ เพราะ ภาชนะที่มีผิวหน้ากว้างจะเเห้งเร็วกว่าภาชนะที่มีผิวหน้าเเคบ]

>> การดู VDO ในครั้งนี้คือการได้สาระ ความรู้
>> การทดลอง ทำให้เกิดการสังเกต

งานที่ได้รับมอบหมาย
จับกลุ่ม 2 คน (กลุ่มของดิฉันมี 3 คน อาจารย์ให้ทำของเล่นมา 2ชิ้น)

1. ทำสื่อวิทยาศาสตร์ที่เล่นตามมุม
     - ถ่ายรูป (บอกวิธีการทำ)
     - อุปกรณ์
     - ใช้เศษวัสดุ

2. หาวิธีการทำของเล่น (วิทยาศาสตร์) เพื่อนำไปสอนเด็ก
     - ทำตามขั้นตอน

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 3

วันอังคาร ที่ 26 มิถุนายน 2555


-อาจารย์ยกตัวอย่างแมวเหมียว ซึ่งเด็กได้เกิดการเรียนรู้


 การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์

พัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
- ขั้นที่ 1  แรกเกิด-2 ขวบ
- ขั้นที่ 2  2-4 ปี
- ขั้นที่ 3  4-6 ปี
- ในการจัดประสบการณ์ต้องเป็นรูปธรรม
กระบวนการทางวิทยาศาศตร์
(1) กระบวนการเบื้องต้น
- การสังเกต (สอดคล้องกับวิธ๊การเรียนรู้ของเด็ก)
- การวัด (ปริมาณ)
- การจำแนกประเภท (หาเกณฑ์)
- การหาความสัมพันธ์ (ความเหมือน ความตรงข้าม ส่วนที่เกี่ยวข้องกัน)
- การสื่อความหมาย (สัญลักษณ์)
- การคำนวณ
- การพยากรณ์
(2) กระบวนการแบบผสม
- ตั้งสมมติฐาน
- กำหนดเชิงปฎิบัติการ
- การกำหนดและควบคุมตัวแปร
- การทดลอง
- ตีความและสรุป

วิธีการจัด
(1) เป็นทางการ
- รูปแบบผสมผสาน (โครงการวิทยาศาสตร์)
- มีจุดมุ่งหมาย
(2) ไม่เป็นทางการ
- มุมวิทยาศาสตร์
- สภาพ
(3) จัดแบบตามเหตุการณ์
- สิ่งที่พบเห็น
- ธรรมชาติ

การใช้สื่อ
- เลือก(เนื้อหา สถานที่ พัฒนาการ การเรียนรู้)
- เตรียม
- ใช้
- ประเมิน


**งานที่มอบหมาย**

1.ทำmind map กลุ่มละ4-5 คน เลือกหัวข้อ1หน่วย เพื่อไปทำแผนการสอน และใช้สอนในวันที่ 20-24 สิงหาคม 2555

บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 2
วันอังคารที่  19 มิถุนายน 2555

*-* อาจารย์เชครายชือนักศึกษาที่ทำบล็อกเรียบร้อย และตรงเวา
*-* ให้นักศึกษาเยียนความคาดหวังจากวิชาการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
*-*คำสำคัญ คือ คำที่ขึ้นมากับสิ่งที่ต้องการรู้ เช่น คำว่า "การจัดประสบการณ์" ถ้าค้นหาในgoogle คำว่า"การจัดประสบการณ์"ก็จะขึ้นมาเยอะมากและมีหลายหัวข้อ
*-* การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย มีคำสำคัญ 3 คำคือ
    1.การจัดประสบการณ์
         - หลักการจัดประสบการณ์
         - กระบวนการจัดประสบการณ์
         - ทฤษฎี
         - เทคนิควิธีการ
         - สื่อ/จัดสภาพแวดล้อม สนับสนุนการจักประสบการณ์
         - วิธีการประเมิน
   2.เด็กปฐมวัย
         - วิธีการเรียนรู้
         - พัฒนาการ => สติปัญญา => ภาษา , การคิด
           การคิด => การคิดเชิงเหตุผล , การคิดเชิงสร้างสรรค์
   3.วิทยาศาสตร์
         - ทักษะทางวิทยาศาสตร์
         - สาระทางวิทยาศาสตร์
*-* พัฒนาการ คือ การเป็นไปตามลำดับขั้นตอนอย่างต่อเนื่อง
    เช่น พัฒนาการด้านร่างกาย
            นอน => คว่ำ => คือบ => คลาน => นั่ง => ยืน => เดิน => วิ่ง
*-* วิธีการเรียนรู้ คือ การใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้ากระทำกับวัตถุ
   เช่น  ตา      =       ดู
            หู         =      ฟัง
            จมูก    =      ดมกลิ่น
            ลิ้น      =     ชิมรส
            กาย    =      สัมผัส
*-*  วิทยาศาสตร์ หมายถึง - สิ่งที่อยู่รอบตัว ธรรมชาติรอบตัว
           - สิ่งที่พิสูจน์ได้
           - สิ่งที่เด็กจะเข้าใจได้ง่าย



งานที่ได้รับมอบหมาย
1.พัฒนาการทางด้านสติปัญญาตัวไหนที่เป็นวิทยาศาสตร์ สำหรับเด็กอายุ3ขวบ
ตอบ    จำแนกสื่งต่างๆด้วยประสาทสัมผัสทั้ง5
             สามารถเรียนรู้วิธีคิด วิธีตั้งคำถามและการค้นหาคำตอบได้
             ชอบเรียนรู้สิ่งต่างๆๆรอบตัวเอง

2.จับกลุ่ม3-4 คน ให้หาเนื้อหาที่จะจัดให้กับเด็ก 5วัน

บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 1
วันอังคารที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2555

** อาจารย์ติดประชุม ไม่มีการเรียนการสอน แต่สั่งงานไว้ ดังนี้

- ทำบล็อควิทยาศาสตร์

- ลิ้งค์มาตรฐานวิทยาศาสตร์ของ สสวท.

- ลิ้งค์รายชื่อเพื่อนในบล็อค

- ดูโทรทัศน์ครูเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ (เรื่องนึงซ้ำได้ไม่เกิน 3 คน)